ข่าวเศรษฐกิจ

การปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำของสหรัฐฯ ส่งผลให้แรงงานราว 1.4 ล้านคนมีแนวโน้มถูกเลิกจ้าง

สำนักงบประมาณรัฐสภาสหรัฐฯ (Congressional Budget Office : CBO) ประเมินว่ามาตรการทยอยปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำต่อชั่วโมงของรัฐบาลกลางจาก 7.25 ดอลลาร์สหรัฐ เป็น 15 ดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2568 จะส่งให้สหรัฐฯ ขาดดุลงบประมาณเพิ่มขึ้นอีก 54 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในช่วง 10 ปีข้างหน้า รวมทั้งส่งผลให้แรงงานราว 1.4 ล้านคนมีแนวโน้มถูกเลิกจ้าง เนื่องจากภาคธุรกิจปรับตัวมาใช้ระบบ Automation มากขึ้นเพื่อลดต้นทุน อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวจะช่วยให้แรงงานราว 17 ล้านคนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากรายได้ที่เพิ่มขึ้น

Related
more icon
Most Viewed
more icon
  • เผยรายชื่อโรงพยาบาลเอกชนที่สั่งซื้อวัคซีนป้องกัน COVID-19 จากบริษัทต่างชาติ

    แหล่งข่าวจากวงการโรงพยาบาลเอกชนเปิดเผยว่า ขณะนี้โรงพยาบาลเอกชนหลายแห่งต้องการสั่งซื้อวัคซีนป้องกัน COVID-19 จากบริษัทผู้พัฒนาต่างชาติ (ที่นอกเหนือจากของ AstraZeneca อาทิ Moderna) เพื่อหวังจะนำวัคซีนดังกล่าวมาให้บริการแก่...

    calendar icon08.01.2021
  • เอกชนรุกลงทุนโรงพยาบาลใหม่

    สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เปิดเผยว่า ในช่วงที่ผ่านมามีโรงพยาบาลเอกชนหลายแห่งทยอยยื่นรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เพื่อขออนุญาตดำเนินโครงการ ทั้งโครงการใหม่และส่วนต่อขยาย ซึ่ง ...

    calendar icon08.01.2018
  • สมาคมผู้ผลิตไก่ฯ คงเป้าส่งออกไก่เนื้อในปี 2563 ที่ระดับเดิม

    สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทยได้คงเป้าการส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งและไก่แปรรูปในปี 2563 ที่ปริมาณรวม 9.8 แสนตัน คิดเป็นมูลค่าส่งออก 1.2 แสนล้านบาท แม้สถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ในหลายประ...

    calendar icon13.04.2020
link อื่นๆ
  • Relate Preview
  • Relate Preview
Financial Products